ตัววิ่ง

ยินดีต้อนรับสู่บล็อกของนางสาว ศรีสุดารัตน์ สว่างเกตุวิชาภาษาอังกฤษ

วันศุกร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

Past tenses

1. Simple Past
โครงสร้าง
Subject
+   main verb
( past form)  
+ main verb (base form )    or
 
+   auxiliary verb
( did )
+ main verb (base form )
ประธาน + กริยาช่อง 2   หรือ  กริยาช่วย  ( did ) + กริยาหลัก ช่อง 1
ดังตัวอย่าง
 ประธานกริยาช่วย กริยาหลัก 
+I  wentto school.
You  workedvery hard.
-Shedidnotgowith me.
Wedidnotworkyesterday.
?Didyou goto London?
Didthey workat home?
การใช้
  • ใช้ past simple  กับการกระทำซึ่งเกิดขึ้นและจบลงแล้วในอดีต ซึ่งมักจะมีคำแสดงอดีตอยู่ด้วยเสมอ เช่น  yesterday, last week,  in 1997, when I was young , ago, the other day , in the past,  this morning เป็นต้น
    The car exploded at 9.30am yesterday.
    She went to the party last night.
    We did not hear the telephone this morning.
    She fell asleep a few minutes ago.
  • ใช้กับการกระทำซึ่งเกิดขึ้นประจำในอดีต แต่ปัจจุบันไม่ได้มีการกระทำเช่นนั้นแล้ว มักจะมีคำแสดงอดีต และคำแสดงความบ่อยหรือความเป็นประจำด้วย
    lived in Bangkok for 10 years.
    The Jurassic period lasted about 62 million years.
     
    He walked to school every day last year.
    When I was young I used to get up early in the morning
หมายเหตุ  ในการเล่าเรื่องโดยปกติจะใช้ simple past tense และอาจใช้ past continuous tense เพื่อให้เห็นสถานการณ์ขณะนั้น  ดังตัวอย่างการเล่าเรื่องต่อไปนี้
"The wind was howling around the hotel and the rain was pouring down. It was cold. The door opened and James Bond entered. He took off his coat, which was very wet, and ordered a drink at the bar. He sat down in the corner of the lounge and quietly drank his..."
2. Past  Progressive
โครงสร้าง
Subject
auxiliary verb
(  was,were ) 
+main verb 
( present participle )
ประธาน +   กริยาช่วย  ( was,were ) + กริยาหลัก + ing
ดังตัวอย่าง
 ประธานกริยาช่วย กริยาหลักช่อง 1+ing 
+
Iwas watchingTV.
+
Youwere workinghard.
-
He, she, itwasnothelpingMary.
-
Wewerenotjoking. 
?
Wereyou beingsilly?
?
Werethey playingfootball?
การใช้
  • ใช้กับเหตุการณ์ 2 อย่างซึ่งกำลังดำเนินอยู่พร้อมๆกันในอดีต   โดยมีเวลาในอดีตกำกับ
    I was working at 10pm last night. 
    They were not playing football at 9am this morning.
    What were you doing at 10pm last night?
  • ใช้กับเหตุการณ์ 2 อย่างซึ่งกำลังดำเนินอยู่พร้อมๆกันในอดีต โดยเหตุการณ์หนึ่งกำลังดำเนินอยู่ ( Past Progressive ) ก็มีอีกเหตุการณ์เกิดขึ้น ( Simple Past)    มักมีคำเชื่อมประโยค when, while ,as
    What were you doing when he arrived?
    She was cooking when I telephoned her.
    We were having dinner when it started to rain.
  • ใช้กับเหตุการณ์ 2 อย่างซึ่งกำลังดำเนินอยู่พร้อมๆกันในอดีต โดยไม่ระบุว่าเหตุการณ์ใดเกิดก่อน ใช้ Past Progressive ทั้ง2 ประโยค
    was studying while he was making dinner.
    While Ellen was reading, Tim was watching television.
  • ใช้ลอยๆ กับเหตการณ์เดียวได้ในกรณีที่มีคำบอกช่วงเวลากำกับไว้ในประโยค  หรือใช้ในการเล่าเรื่อง
    was writing all day yesterday.
    " James Bond was driving through town. It was raining. The wind was blowing hard. Nobody was walking in the streets. Suddenly, Bond saw the killer in a telephone box..."
หมายเหตุ  เปรียบเทียบการใช้   Simple Past  และ Past Progressive
Last night at 6 p.m., I ate dinner.
(เมื่อวานนี้ ฉันเริ่มรับประทานอาหารเย็น 18.00 น.)

Last night at 6 p.m., I was eating dinner.
(เมื่อวานนี้ตอน18.00น.  ฉันกำลังอยู่ระหว่างการรับประทานอาหารเย็น .)
3. Past Perfect
โครงสร้าง
Subject
auxiliary verb
(  had )
+ main verb
( past participle )
ประธาน +   กริยาช่วย  ( had ) + กริยาหลักช่อง 3
ดังตัวอย่าง
 ประธานกริยาช่วย กริยาช่อง 3 
+
Ihad finishedmy work.
+
Youhad stoppedbefore me.
-
Shehadnotgoneto school.
-
Wehadnotleft. 
?
Hadyou arrived? 
?
Hadthey eatendinner?
การใช้
  • ใช้เมื่อมีเหตุการณ์ 2 อย่างเกิดขึ้นในอดีต  อย่างหนึ่งเกิดก่อนอีกอย่างหนึ่ง
    เหตุการณ์การณ์ที่เกิดก่อน ใช้ Past Perfect
    เหตุการณ์ทเกิดภายหลังใช้ Simple Past

    I wasn't hungry. I had just eaten.
    They were hungry. They had not eaten for five hours.
    didn't know who he was. I had never seen him before.
    The train had left when we arrived .
  • ใช้กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อนเวลาจุดหนึ่งในอดีต
    Jane had never seen lion until yesterday
    By 1985, I had taught that class for ten years.
ตัวอย่างการใช้งาน     คุณไปที่สถานีรถไฟตอน 09.15 น. . เจ้าหน้าที่ของสถานีรถไฟแจ้งคุณว่า
"You are too late. The train has left." คุณมาสายไป รถไฟออกไปแล้วครับ
ภายหลังคุณไปเล่าให้เพื่อนฟังดังนี้  "We were too late. The train had left."
หมายเหตุ   การใช้ Past Perfect นี้   มีการใช้ในเรื่องของประโยคคาดคะเน สมมติ หรือประโยคแสดงความปรารถนา และใน indirect speech อีก ซึ่งจะได้มืรายละเอียดในบทต่อๆไป

4. Past Perfect Progressive

โครงสร้าง
Subject
auxiliary verb
(  had)
+  auxiliary
(been)
+main verb
( present participle )
ประธาน +   กริยาช่วย  ( had ) + กริยาช่วย ( been ) + กริยาหลัก+ing
ดังตัวอย่าง
 subjectauxiliary
verb
 auxiliary
verb
main verb 
+
Ihad beenworking. 
+
Youhad beenplayingtennis.
-
Ithadnotbeenworkingwell.
-
Wehadnotbeenexpectingher.
?
Hadyou beendrinking? 
?
Hadthey beenwaitinglong?
การใช้
  • มีหลักการใช้เช่นเดียวกับ Past Perfect  ต่างกันเพียงใช้ Past perfect Progressive เมื่อต้องการเน้นความต่อเนื่องของเหตุการณ์ที่เกิดก่อน เช่น
John was very tired. He had been running( เน้นว่าได้มีการวิ่งอย่างต่อเนื่อง )
I could smell cigarettes. Somebody had been smoking. ( เน้นว่าได้มีการสูบบุหรี่อย่างต่อเนื่อง )
My car broke down. I was not surprised. It had not been running well for a long time.
Had the pilot been drinking before the crash?
เปรียบเทียบการใช้ Past Perfect  และ Past perfect Progressive
Past Perfect :  He had slept for three hours when we called him up.
Past perfect Progressive : He had been sleeping for three hours when we called him up.

ทั้งสองประโยคมีความหมายเหมือนกัน  แต่ในประโยคที่สองเป็นการเน้นว่า มีการนอนอยู่ตลอดเป็นเวลา 3 ชั่วโมง
เปรียบเทียบการใช้ Past Perfect Progressive  กับ Past Progressive
Past Progressive:  I was reading when my roommate returned.
Past Perfect Progressive :I had been reading for an hour when my roommate returned.


มีความหมายต่างกันคือ ประโยคแรก ในขณะที่ฉันกำลังอ่านอยู่ เพื่อนร่วมห้องกลับมาประโยคที่สอง  ฉันได้อ่านมาแล้ว 1 ชั่วโมงและหยุดอ่านก่อนที่เพื่อนร่วมห้องจะกลับมา
 

วันพฤหัสบดีที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

grammar เล็กๆน้อยๆ


บทที่ 1 คำนาม
คำนาม (Nouns) คือคำที่ใช้เรียก คน สัตว์ สิ่งของ มีรายละเอียดของคำนามดังต่อไปนี้
1.1 ชนิดของคำนาม (Kind of Nounns) แบ่งออกเป็น 5 ชนิด ดังนี
1. คำนามที่เป็นชื่อเฉพาะ วิสามานยนาม (Proper Noun) ชื่อคน ชื่อสัตว์ที่ตั้งชื่อให้เฉพาะ ชื่อสถานที่ ชื่อสิ่งของ เช่น Malee , Peter, Bangkok , etc
2. คำนามที่เป็นชื่อทั่วไป หรือสามานยนาม (Common Noun) เช่น man , boy,teacher ,
3. คำวัตถุนาม (Material Noun) ได้แก่ rice , coffee , food , etc.
4. คำนามที่ใช้เรียกกลุ่ม เช่น family,committee (คณะกรรมการ)
5. คำนามที่เป็นนามธรรม (Abstract NOun) ได้แก่ คำนามที่เป็นความรู้สึกนึกคิด (ไม่ใช่ คน สัตว์ หรือ สิ่งของ) เช่น peace (สันติภาพ) , toverty (ความยากจน) , wisdom (ปัญญา) , etc.
1.2 พจน์ของคำนาม (Number of noun) มี 2 ชนิด
1.3 คำนามเอกพจน์ (Singular Noun) ได้แก่ คำนามที่เป็นเพียงหนึ่ง หรือ สิ่งเดียว คนเดียว ตัวเดียว เป็นต้น
คำนามพหูพจน์ (Plural Noun) ได้แก่ คำนามที่เป็นหลายสิ่ง หลายตัว เป็นต้น
บทที่ 2 คำนำหน้านาม (ARTICLES)
คำนำหน้านามมี 2 ชนิด ได้แก่ a, an เรียกว่า Indefinite Article และthe
เรียกว่า DEfinite Article
A ,AN : A ใช้นำหน้าคำนามที่มีอักษรคำหน้าด้วย พยัญชนะ
AN ใช้นำหน้าคำนามที่มีอักษรนำหน้าด้วย สระ
1. ใช้นำหน้านามที่มีความหมาย หนึ่งเดียว เช่น I am a Thai.
2. ใช้ในความหมายแทน กลุ่ม เช่น A cow is animal. An ant is a small now.
3. ใช้ในการวัด มีความหมายตรงกับคำ “per” (ต่อ) เช่น ninety miles an hour. One hundred bath a dozen
5. ใช้กับคำนามเฉพาะที่เป็นที่รู้จักกันดี ในความหมายว่า “หนึ่งในหลาย”
6. ใช้ในรูป What a + (นามที่นับได้เอกพจน์)
How + adjective + a + (นามที่นับได้เอกพจน์
บทที่ 3 คำสรรพนาม (PRONOUNS)
คำสรรพนาม (Pronouns) เป็นคำแทนชื่อ เช่น MR.Smith เป็นคำนาม แต่เราไม้เรียกชื่อ เราจะใช้ “he” แทนได้ คำ pronoun ได้แก่ I , you , he , she , it , they , them , her , him , me , we , us , who , whom , which , whose , etc. และมีรายละเอียดดังนี้
3.1 ประเภทของสรรพนาม
1. Personal Pronoun บุรุษสรรพนามแบ่งเป็น 3 บุรุษได้แก่ ผู้พูด (บุรุษที่1 : first person) ผู้ฟังหรือ ผู้ที่พูดด้วย (บุรุษที่2 : second person) และผู้ที่ถูกกล่าวถึง (บุรุษที่3 : third person)
First person ได้แก่ I , we , us ,
Second person ได้แก่ you
Third person ได้แก่ he , she , it , they , him , her , them
2. Reflexive Pronoun or Emphatic Pronoun ได้แก่ คำสรรพนามที่เน้นย้ำ ได้แก่ myself yourself , himself , herself , itself , ourselves , yourselves , themselves
3. Relative Pronoun ได้แก่ คำสรรพนามที่ทำหน้าที่เชื่อมกับคำนามที่มาข้างหน้า เรียกว่า antecedent ทำให้เกิดเป็นประโยคย่อย ประโยคช่วย (subordinate clause) คำที่เป็น relative pronoun ได้แก่ that , who , which , whose , what , as , whoever , whichever
4. Interrogative Pronoun ได้แก่ สรรพนามที่ทำหน้าที่เป็นคำถาม (Question words) เช่น who , what , whom , which , whose , etc.
5. Possessive Pronoun ได้แก่ คำสรรพนามที่แสดงความเป็นเจ้าของ เช่น mine , yours , his , hers , ours , theirs
6. Demonstrative Pronoun หมายถึง คำสรรพนามที่แสดงความจำเพาะเจาะจง ได้แก่ this , that , these , those , these
7. Indefinite Pronoun หมายถึง คำสรรพนามที่ใช้แทนคน สัตว์ สิ่งของโดยทั่วๆไป ได้แก่ everyone everybody , everything , someone , somebody , something , nobody , nothing , anyone , anybody , anything , some , any , all , several , few
8. Distributive Pronoun หมายถึง คำสรรพนามที่ใช้แทนบุคคล หรือ สิ่งของ ในชั่วขณะหนึ่ง และถือเป็น
เอกพจน์ เช่น Each of the girls has a comb .
3.2 พจน์ของสรรพนาม แยกเป็น เอกพจน์ (Singular) และพหูพจน์ (Plular)
Singular Plural
First Person I , me we , us
mine ours
Second Person thou thee he, she ,it you, yours, they
Third Person him , herhis , hers them,their
3.3 พจน์ของสรรพนาม (Gender or pronoun)
Singular Plural
Masculine,Feminin,Neuter all gender
He She It They
Him Her It Them
His Hers Its Theirs
3.4 หน้าที่สรรพนาม ในประโยค
คำสรรพนาม ทำหน้าที่เป็น ประธาน (Subject) ของประโยคหรือเป็นกรรมของประโยค (Object) การแสดงเป็นเจ้าของ (possessive) และคำเน้น (self form) มีการสัมพันธ์กัน
บทที่ 4 คำคุณศัพท์ (ADJECTIVES)
คำคุณศํพท์เป็นคำขยายนามหรือ สรรพนาม (Noun or Pronoun) ให้มีความหมายชัดเจนยิ่งขึ้น
4.1 ประเภทของคำคุณศัพท์ มี 7 ชนิด ดังต่อไปนี้
3. Quantitative Adjective เป็นคุณศัพท์ที่บอกปริมาณสำหรับ noun หรือ pronoun ที่นับไม่ได้ เช่น
He drinks a little water.
4. Numeral Adjective ได้แก่คำคุณศัพท์ที่บอกจำนวนหรือตัวเลข แยกได้ 2 ชนิด
– Definite Numberal Adjective ได้แก่คุณศัพท์ที่ใช้บอกจำนวนที่แน่นอน
– Indefinite Number Adjedtive ได้แก่คุณศัพท์ทีใช้บอกจำนวนแต่ไม่แน่นอน few , all , some , a few , many , enough , any
5. Distributive Adjective หมายถึง คุณศัพท์ที่ใช้แสดงการ “แจกจ่าย” บุคคลหรือสิ่งของ เมื่อมีการใช้ คุณศัพท์ชนิดนี้แล้ว จะทำให้คำนามเป็น เอกพจน์ (singular) เช่น Each boy has a book.
6. Demonstrative Adjective หมายถึง adjective ที่เป็นตัวบ่งชี้ คำสรรพนาม ที่แสดง “เจาะจง” (dejective) และ “ไม่เจาะจง” (indefinite)
7. Interrogative Adjective หมายถึงคุณศัพท์ที่ใช้ในการตั้งคำถาม ข้อสังเกตคือ คำคุณศัพท์ต้องขยายคำนาม ถ้าอยู่ โดดเดี่ยวไม่ขยายคำใด คำนั้นจะเป็นคำสรรพนาม (Interrogative Pronoun)
4.2 Comparison Degree หมายถึง คุณศัพท์ที่ใช้เปรียบเทียบ การเปรียบเทียบมี 3 ระดับ ได้แก่ ขั้นปกติ (Positve degree) ขั้นกว่า (comparative degree) และขั้นสุด (superlative degree)
บทที่ 5 คำกริยา (VERBS)
คำกริยาแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ กริยาแท้ และกริยาไม่แท้
1. กริยาแท้ (Finite vervs) หมายถึง อาการที่แสดงออกหรือการบังเกิดขึ้นของสิ่งต่างๆ ที่ถูกจำกัด
2. กริยาไม่แท้ (Non – finite Verbs) ได้แก่ กริยาที่ไม่ถูกจำกัด
5.1 กริยาแท้
5.1.1 Kind of Finite Verb มี 3 ชนิด
1. Transitive Verbs คือ สกรรมกริยา หมายถึงกริยาที่ต้องมีกรรมมารับ
She reads an English tale.
2. Intransitive Verb คือ อกรรมกริยา หมายถึง กริยาที่ไม่ต้องมีกรรมมารับ
The sun sets . Water flows.
3. Auxiliary Verbs หมายถึงกริยาช่วย มีทั้งหมด 6 ตัว ได้แก่ have , be , shall , will , may , do เช่น
He has done many things .
การใช้ Auxiliary Verbs
1. ใช้ have เพื่อสร้าง perfect tense ซึ่งมีรูปเป็น to have + past participle เช่น
He has run away .